Feline Infectious Peritonitis : FIP โรคเยื่อบุช่องทองอักเสบ

Feline Infectious Peritonitis : FIP
Diaphragm inflammatory disease in the cat contact. A disease caused by viral infection Ocorna Feline Coronavirus (FCoV) infection has several strains. Strains that cause disease, diaphragm inflammation. Can grow in certain white blood cells. The infected cells allows bacteria to spread throughout the cat.

Contact the disease.
Infected by the virus in the oral and nasal. From direct contact with saliva. Or feces of cats that patients with this disease. Or exposure to contaminants such as virus, food bowl, bed clothes - cat toys or water.
Disease will enter the tract. And then when into the intestine. Will have different symptoms and lesions. Several steps until the switch and cause problems. The organ. Abdominal and chest box.

Symptoms.
The experience of this virus. The first time will not cause food itself. Some cats may have respiratory problems with the very early light. The strike symptomatic mucous tearful Most cats are infected tend to disappear first. But it is certain to become a carrier of the virus.
Disease symptoms are 2 main types.
A dry (Non-effusive).
Wet (Effusive) mostly wet. Is accumulation of fluid in the abdominal and / or chest box if fluid accumulation is a large cat is breathing hard.
In a dry condition is very slow. Rarely accumulated fluid. Symptoms, but found leaky weight is anemic and may experience flu symptoms, renal failure. Diseases of the nervous system or eye disease.

Treatment.
No treatment works. The very treatment of the symptoms. To a long life more. The use of nutritional supplements that antibiotics Steere Asoc Sofitel Grand Roy Forbes Inc. Mike ° Epson. (cyclophosphamide) International Fiat Ron. Antiviral drugs such. However, results have still not good.

Disease control.
Sanitation of housing must be great. Separate sick animals out. Do not let cat out to see outdoors. It could have been infected. Cats Do not party to the extremely heavy. Cat vaccination regularly. The food is good nutrition.

Prevention.
The use of vaccines. Diaphragm prevent inflammatory disease. Front nose in cats aged 16 weeks to 2 times 3-4 weeks apart and repeat every year incidence of inflammatory diseases diaphragm in cat contact (FIP) high and lack of effective therapies. FIP makes prevention is important. There is a vaccine for the prevention of this disease vaccine diaphragm inflammation a front nose.
A front nose vaccines have been proven to reduce the incidence of FIP in cats vaccinated.
The front nose with a vaccine to stimulate mucosal IgA and cell-mediated Immune (CMI) significantly.

Information from: leaflets of Pfizer Animal Health International Limited.




โรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบติดต่อในแมว เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อโคโรนาไวรัส Feline Coronavirus (FCoV) เชื้อนี้มีหลายสายพันธุ์ สายพันธุ์ที่ทำให้เกิดโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ สามารถเจริญเติบโตในเม็ดเลือดขาวบางชนิด ซึ่งเซลล์ที่ติดเชื้อจะทำให้เชื้อแพร่กระจายไปทั่วตัวแมว

การติดต่อของโรค
ติดโรคโดยเชื้อไวรัสเข้าทางช่องปากและจมูก จากการสัมผัสโดยตรงกับน้ำลาย หรืออุจจาระของแมวที่ป่วยด้วยโรคนี้ หรือสัมผัสกับสิ่งปนเปื้อนเชื้อไวรัส เช่น เสื้อผ้า ที่นอน ชามอาหาร-น้ำ หรือของเล่นแมว
โรคจะเข้าสู่ทางเดินอาหาร และเมื่อเข้าสู่ลำไส้แล้ว ก็จะมีแผลและอาการต่างๆ อีกหลายขั้นตอนจนทำให้เกิดวิการและปัญหาต่างๆ กับอวัยวะต่างๆ ในช่องท้องและช่องอก

อาการ
การสัมผัสเชื้อไวรัสนี้ ครั้งแรกจะไม่ทำให้เกิดอาหารที่เด่นชัด แมวบางตัวอาจมีปัญหากับระบบทางเดินหายใจส่วนต้นอย่างอ่อนๆ โดยแสดงอาการจาม มีน้ำมูก น้ำตาไหล แมวส่วนใหญ่ที่มีการติดเชื้อครั้งแรกมักจะหาย แต่ก็มีบางตัวที่กลายเป็นพาหะของเชื้อไวรัส
โรคนี้มีอาการหลักอยู่ 2 แบบ คือ
แบบแห้ง (Non-effusive)
แบบเปียก (Effusive)ส่วนใหญ่เป็นแบบเปียก จะมีการสะสมของของเหลวในช่องท้อง หรือ/และ ช่องอก ถ้าของเหลวสะสมเป็นจำนวนมากแมวจะหายใจลำบาก
ในแบบแห้งอาการจะเป็นอย่างช้าๆ ไม่ค่อยมีของเหลวสะสม แต่พบอาการซึม น้ำหนักลด โลหิตจาง และเป็นไข้ อาจพบอาการไตวาย โรคของระบบประสาท หรือโรคตา

การรักษา
ยังไม่มีการรักษาที่ได้ผล โดยมากรักษาตามอาการ เพื่อให้มีชีวิตยืนยาวขึ้น มีการใช้สารเสริมอาหารต่างๆ ยาปฏิชีวนะ สเตียรอยด์ ไซโคลฟอสฟาไมด์ (cyclophosphamide) อินเตอร์เฟียรอน ยาต้านไวรัสต่างๆ แต่ผลที่ได้ยังไม่ดี

การควบคุมโรค
การสุขาภิบาลของที่อยู่อาศัยต้องดี แยกสัตว์ป่วยออก ไม่ควรปล่อยแมวออกเที่ยวนอกบ้าน เพราะอาจทำให้ติดโรคมาได้ อย่าเลี้ยงแมวให้หนาแน่นมาก ฉีดวัคซีนแมวเป็นประจำ ให้อาหารที่มีโภชนาการที่ดี

การป้องกันโรค
โดยการใช้วัคซีน ป้องกันโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ หยอดจมูกแมวอายุตั้งแต่ 16 สัปดาห์ขึ้นไป 2 ครั้ง ห่างกัน 3-4 สัปดาห์ และทำซ้ำทุกปีอุบัติการณ์ของโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบติดต่อในแมว (FIP) ที่สูงและขาดวิธีการรักษาที่ได้ผล ทำให้การป้องกันโรค FIP เป็นสิ่งที่สำคัญ ปัจจุบันมีวัคซีนสำหรับป้องกันโรคนี้ คือ วัคซีนป้องกันโรคเยื่อบุช่องท้องอักเสบ แบบหยอดจมูก
เป็นวัคซีนชนิดหยอดจมูกที่ได้รับการพิสูจน์ว่าช่วยลดการเกิดโรค FIP ในแมวที่ได้รับวัคซีน
การหยอดจมูกด้วยวัคซีนจะกระตุ้นให้เกิด mucosal IgA และ cell-mediated Immune (CMI) อย่างมาก

ข้อมูลจาก: แผ่นพับ Animal Health ของ บริษัท ไฟเซอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

Followers